การกำหนดชนิดข้อมูลชั่วคราว
3. การกำหนดชนิดข้อมูลชั่วคราว
จากตัวอย่างในโปรแกรมที่ผ่านมา เราจะต้องกำหนดชนิดของตัวแปรก่อนเสมอ เมื่อตัวแปรถูกกำหนดเป็นข้อมูลชนิดใด ตัวแปรนั้นก็จะเป็นข้อมูลชนิดนั้นตลอดไป ในการเขียนโปรแกรมบางครั้งอาจะมีความจำเป็นจะต้องเปลี่ยนชนิดของตัวแปรชั่วคราว ในกรณีเช่นนี้จะต้องระบุชนิดข้อมูลหน้าตัวแปร เช่น ตัวแปร a เป็นชนิดเลขจำนวนเต็ม เมื่อต้องการให้เป็นเชนิดเลขจำนวนจริงชั่วคราวให้เขียนเป็น (float) a
ตัวอย่าง โปรแกรมที่ 6
#include”stdio.h”
main()
{
int i;
float f;
f = 1285.458;
printf(“%f\n”,f);
printf(“%d\n”,(int)f);
}
ผลลัพธ์
1285.458008 1285
Download Source Code
ผลลัพธ์ของโปรแกรมที่ 6 ค่าแรกจะเป็นค่าของตัวแปร f ซึ่งเป็นชนิดเลขจำนวนจริง ส่วนค่าที่ 2 จะเป็นค่าของตัวแปร f ซึ่งเป็นชนิดเลขจำนวนเต็ม
from; http://www.thai-programmer.com
จากตัวอย่างในโปรแกรมที่ผ่านมา เราจะต้องกำหนดชนิดของตัวแปรก่อนเสมอ เมื่อตัวแปรถูกกำหนดเป็นข้อมูลชนิดใด ตัวแปรนั้นก็จะเป็นข้อมูลชนิดนั้นตลอดไป ในการเขียนโปรแกรมบางครั้งอาจะมีความจำเป็นจะต้องเปลี่ยนชนิดของตัวแปรชั่วคราว ในกรณีเช่นนี้จะต้องระบุชนิดข้อมูลหน้าตัวแปร เช่น ตัวแปร a เป็นชนิดเลขจำนวนเต็ม เมื่อต้องการให้เป็นเชนิดเลขจำนวนจริงชั่วคราวให้เขียนเป็น (float) a
ตัวอย่าง โปรแกรมที่ 6
#include”stdio.h”
main()
{
int i;
float f;
f = 1285.458;
printf(“%f\n”,f);
printf(“%d\n”,(int)f);
}
ผลลัพธ์
1285.458008 1285
Download Source Code
ผลลัพธ์ของโปรแกรมที่ 6 ค่าแรกจะเป็นค่าของตัวแปร f ซึ่งเป็นชนิดเลขจำนวนจริง ส่วนค่าที่ 2 จะเป็นค่าของตัวแปร f ซึ่งเป็นชนิดเลขจำนวนเต็ม
from; http://www.thai-programmer.com
ป้ายกำกับ: c++, c++ programming
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
สมัครสมาชิก ส่งความคิดเห็น [Atom]
<< หน้าแรก